วันศุกร์ที่ 21 มกราคม พ.ศ. 2554

My Idol

 http://markettest.kapook.com/uploadimg/519/516708/1976/kapook-1381289615435.jpg
อุไรวรรณ ศิวกุล
เจ้าของ "โรงเรียนกวดวิชาวรรณสรณ์" (เคมี อาจารย์อุ๊) ร่วมกับสามี นายอนุสรณ์ ศิวะกุล ตั้งแต่ พ.ศ. 2532


ประวัติส่วนตัว
      นางอุไรวรรณ ศิวะกุล เกิดที่จังหวัดระนอง มีพี่น้องทั้งหมด 9 คน วัยเด็กศึกษาอยู่ที่โรงเรียนสตรีระนอง จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษา วุฒิ มศ.3 จากโรงเรียนสตรีระนอง เมื่อ พ.ศ. 2515 ศึกษาระดับอนุปริญญา วุฒิ ป.กศ.สูง (เอกวิทยาศาสตร์) จากวิทยาลัยครูภูเก็ต เมื่อ พ.ศ. 2519 จบระดับปริญญาตรี วุฒิ กศ.บ. (เกียรตินิยมอันดับ 1) จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ สงขลา (ปัจจุบันคือ มหาวิทยาลัยทักษิณ) เมื่อ พ.ศ. 2523 และ ระดับปริญญาโท วุฒิ กศ.ม. (เคมี) จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ ประสานมิตร เมื่อ พ.ศ. 2525
     ด้านการทำงานของอาจารย์อุ๊นั้นเดิมรับราชการครูที่โรงเรียนทับหลีสุริยวงศ์ทันที หลังจากที่เรียนจบเมื่อ พ.ศ. 2519 และได้ลาออกจากราชการเมื่อ พ.ศ. 2521 เพื่อไปศึกษาต่อในระดับปริญญาตรีและปริญญาโทตามลำดับ เมื่อศึกษาจบจึงกลับมารับราชการครูต่อที่โรงเรียนสตรีเศรษฐบุตรบำเพ็ญ กรุงเทพมหานคร ตั้งแต่ พ.ศ. 2526 ถึง พ.ศ. 2532 และย้ายไปรับราชการที่โรงเรียนสามเสนวิทยาลัย ตั้งแต่เมื่อศึกษาระดับปริญญาโท อาจารย์อุ๊ได้เริ่มทำธุรกิจกวดวิชาเป็นการหารายได้พิเศษ และได้กระทำต่อเนื่องมาเมื่อรับราชการครู เมื่อสอนอยู่ที่โรงเรียนสามเสนวิทยาลัยได้เช่าตึกแถวในละแวกนั้นเพื่อเปิด สอนพิเศษ และทำให้นักเรียนในละแวกใกล้เคียงรู้จักและสมัครเรียนมากขึ้นจากการความ สำเร็จของรุ่นก่อนๆ อาจารย์อุ๊จึงลาออกจากการรับราชการครู ไปเปิดธุรกิจกวดวิชาร่วมกับสามี นายอนุสรณ์ ศิวะกุล ซึ่งลาออกจากตำแหน่งผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนสามเสนวิทยาลัยเช่นกัน สาขาแรกที่สาขาสะพานควาย (บางแหล่งข้อมูลกล่าวว่าเคยมีสาขาที่เซ็นทรัลลาดพร้าวมาก่อน)

วันพฤหัสบดีที่ 20 มกราคม พ.ศ. 2554

My Model


The best and most beautiful things cannot be seen or even touched, they must be felt with the heart.

สิ่งที่สวยงามที่สุดมิอาจสัมผัสได้โดยสัมผัสทางกาย ทว่าต้องรับรู้ผ่านหัวใจ

 http://web.uni-plovdiv.bg/stu0805661015/webpage/images/Abstract%20Wallpapers_00059.jpg

Valentine's Day

.. วันวาเลนไทน์ ..

วันวาเลนไทน์ นั้นมีมาตั้งแต่สมัยจักรวรรดิโรมัน ในกรุงโรมสมัยก่อนนั้น วันที่ 14 กุมภาพันธ์ จะเป็นวันเฉลิมฉลองของจูโน่ ซึ่งเป็นราชินีแห่งเหล่าเทพและเทพธิดาของโรมัน ชาวโรมันรู้จักเธอในนามของเทพธิดาแห่ง อิสตรีและการแต่งงาน และในวันถัดมาคือวันที่ 15 กุมภาพันธ์ ก็จะเป็นวันเริ่มต้นงานเลี้ยงของ Lupercalia การดำเนินชีวิตของเด็กหนุ่มและเด็กสาวในสมัยนั้นจะถูกแยกจากกันอย่างเด็ดขาด แต่อย่างไรก็ตาม ยังมีประเพณี อย่างนึง ซึ่งเด็กหนุ่มสาวยัง สืบทอดต่อกันมา คือ คืนก่อนวันเฉลิมฉลอง Lupercalia นั้นชื่อของเด็กสาวทุกคนจะถูกเขียนลงในเศษกระดาษเล็ก ๆ และจะใส่เอาไว้ในเหยือก เด็กหนุ่มแต่ละคนจะดึงชื่อของเด็กสาวออกจากเหยือก แล้วหลังจากนั้นก็จะจับคู่กันในงานเฉลิมฉลอง บางครั้งการจับคู่นี้ ท้ายที่สุดก็จะจบลงด้วยการ ที่เด็กหนุ่มและเด็กสาวทั้งสองนั้นได้ตกหลุมรักกันและแต่งงานกันในที่สุด

ภาย ใต้การปกครองของจักรพรรดิคลอดิอุสที่สอง (Claudius II) นั้น กรุงโรมได้เกิดสงครามหลายครั้ง และคลอดิอุสเองก็ประสบกับปัญหาในการที่จะหาทหารจำนวนมากมายมหาศาลมาเข้าร่วม ในศึกสงคราม และเขาเชื่อว่าเหตุผลสำคัญก็คือ ผู้ชายโรมันหลายคนไม่ต้องการจากครอบครัวและคนอันเป็นที่รักไป และด้วยเหตุผลนี้เอง ทำให้จักรพรรดิคลอดิอุสประกาศให้ยกเลิกงานแต่งงานและงานหมั้นทั้งหมดในกรุง โรม ถึงกระนั้นก็ตาม ยังมีนักบุญผู้ใจดีคนหนึ่งซึ่งชื่อว่า ท่านนักบุญ " วาเลนไทน์ " ท่านเป็นพระที่กรุงโรมในสมัยของจักรพรรดิคลอดิอุสที่สองท่าน นักบุญ วาเลนไทน์ และ นักบุญ มาริอุส ได้จัดตั้งกลุ่มองค์กรเล็กๆ เพื่อช่วยเหลือชาวคริสเตียนที่ตกทุกข์ได้ยากเหล่านี้ และได้จัดให้มีการแต่งงานของคู่รักอย่างลับๆด้วย

และจากการกระทำเหล่านี้เอง ทำให้ นักบุญ วาเลนไทน์ ถูก จับและถูกตัดสินประหารโดยการตัดศรีษะ ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ประมาณปีคริสต์ศักราชที่ 270 ซึ่งถือเป็นวันที่ท่านได้ทนทุกข์ทรมานและเสียสละเพื่อเพื่อนมนุษย์ 

.. ทำไมจึงชื่อ " วันวาเลนไทน์ " ..

วันที่ 14 กุมภาพันธ์ ของทุกปีเป็น วันวาเลนไทน์ ซึ่ง พวกหนุ่มสาวมักจะรีบไปซื้อบัตรส่งทักทายกันส่งใจถึงกัน นับเป็นความนิยมมากขึ้น ประเพณีนี้เข้ามาสู่ประเทศไทยทีละเล็กละน้อย และดูเหมือนจะเป็นที่นิยมมากขึ้นทุกปี เป็นประเพณีที่หนุ่มสาวนิยมกันมากเป็นพิเศษที่สหรัฐอเมริกาและที่ประเทศ อังกฤษ

ทำไมจึงมีชื่อว่า “ วันวาเลนไทน์ ” และความหมายที่แท้จริงของวันนี้คืออะไร? และมาจากไหน?

นักบุญ วาเลนไทน์ (Valentine) เป็นสงฆ์คาทอลิกองค์หนึ่งที่ได้ถูกประหารชีวิตในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ คริสตศักราช 270 ในสมัยพระเจ้าจักรพรรดิโรมัน เกลาดิอุส ที่ 2 ( Clanoius) โดยแท้จริงแล้วท่านนักบุญไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับประเพณีการเลือกคู่ หรือหาคู่ หรือหาแฟน หรือความรัก ความสนใจระหว่างหนุ่มสาว ท่านก็ไม่ได้ไปเกี่ยวข้องด้วยเลย ถ้าเช่นนั้นแล้ว ทำไมจึงเลือกนักบุญองค์นี้มาเป็นองค์อุปถัมภ์สำหรับผู้ที่กำลังหาคู่ เลือกคู่หรือเลือกแฟนกันได้เล่า ? เหตุผลที่ค้นพบได้ก็คือ ที่มาของวันวาเลนไทน์ ไม่ขึ้นอยู่กับคนผู้นี้ แต่ขึ้นอยู่กับวันที่ 14 กุมภาพันธ์

ประเพณีเลือกคู่ หรือหาคู่นี้มีมาแต่โบร่ำโบราณในทุกชาติ ดูเหมือนกับว่าได้เกิดขึ้นพร้อมกับวิวัฒนาการของมนุษย์ก็ว่าได้ ประเพณี วาเลนไทน์ นี้ ก็มีต้นเหตุหรือ ที่มาสมัยที่จักรวรรดิโรมันแผ่อิทธิพลไปทั่ว ชาวโรมันสมัย โบราณมีการฉลองเทพเจ้าองค์หนึ่งชื่อ ลูแปร์คูส (Lupercus) ซึ่งตรงกับวันที่ 15 กุมภาพันธ์ และถือว่าเป็นการฉลองใหญ่ ส่วนหนึ่งของการฉลองใหญ่นี้ก็จะเป็นการจัดงานหาคู่ของพวกหนุ่มสาว ซึ่งจัดขึ้นในวันก่อนวันฉลองใหญ่ 1 วัน คือวันที่ 14 กุมภาพันธ์ นี้จะถือโอกาสให้พวกหนุ่มสาวเสนอตัวเป็นคนรักกันชั่วระยะเวลา 1 ปี ช่วงนี้จะเรียกว่าเป็นช่วงทดลองมิตรภาพเพื่อดูว่าทั้งคู่จะมีนิสัยใจคอเข้า กันได้หรือไม่ ชาวโรมันเป็นคนศรัทธาในเทพเจ้า และสิ่งศักดิ์สิทธิ์ต่าง ๆ ก็มีความเชื่อกันว่าพวกตนมีเทพเจ้าองค์หนึ่งซึ่งเขาขอให้เป็นผู้ดูแลความรัก ของเขาในระหว่างช่วงระยะเวลาการทดลองเป็นคู่รักกัน 1 ปี นั้น เทพเจ้าองค์นี้เป็นหญิงชื่อเทพธิดา Juno Februata ซึ่งตาม เทพนิยายของชาวโรมันเป็นมเหสีของ Jupiter องค์มหาเทพเจ้าทั้งหลาย

ครั้น ต่อมา เมื่อชาวโรมันส่วนใหญ่กลับใจมาถือศาสนาคริสต์ (ตั้งแต่ปลายศตวรรษที่ 4 ) ประเพณีของหนุ่มสาวที่จะหาคู่เพื่อทดลองเป็นคนรักกัน เพื่อจะแต่งงานกันในเวลาต่อไปนั้นก็ยังนิยมทำกันอยู่ แม้ว่าจะเป็นคริสตชนแล้วก็ตาม ฉะนั้นเขาก็ยังรักษาประเพณีการเลือกคู่ในวันที่ 14 กุมภาพันธ์นั้นอยู่ตลอดมา เพียงแต่ว่าหนุ่มสาว โรมันชาวคริสต์ได้หันมาเปลี่ยนตัวผู้อุปถัมภ์องค์ใหม่ เพราะคริสตชนไม่นับถือเทพเจ้าหรือเทพธิดาอย่างกาลก่อน เขาจึงหันมาเลือกหานักบุญในคริสตศาสนาที่มี วันฉลองในวันที่ 14 กุมภาพันธ์ ซึ่งก็มี นักบุญวาเลนไทน์องค์นี้เอง จึงขอยืมชื่อท่านมาเป็นองค์อุปถัมภ์แทนเทพเจ้าเดิมของชาวโรมัน เรื่องราวความเป็นมามีดังนี้ ฉะนั้นถ้าท่านนักบุญมีชีวิตอยู่ท่านอาจรู้สึกงงงวยในตำแหน่งที่หนุ่มสาวได้ เลือกตั้งและแต่งตั้งให้ท่านเป็นผู้อุปถัมภ์ โดยที่ท่านไม่ได้รู้เรื่องทางโลกของหนุ่มสาวด้วยเลยแม้แต่น้อย

ความ รักระหว่างหนุ่มสาวนั้นอาจจะเผชิญกับอันตรายบางอย่าง และอาจจะเป็นโอกาสให้พลังและความรักนั้นทำลายความสัมพันธ์อันสูงส่งระหว่าง หนุ่มสาวนั้นเอง ความหมายของการมี วันวาเลนไทน์ นี้ก็คือการช่วยหนุ่มสาวหาวิธีการเพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ซึ่งกันและกันด้วยใจบริสุทธิ์

ความ หมายเห็นได้ชัดในคำว่า “You are my Valentine” ที่มักจะเขียนลงในบัตรส่งใจถึงกันและกัน ประโยคตามความหมายเดิม หมายถึงว่า “ข้าพเจ้าขอเสนอตัวเป็นเพื่อนสนิทของท่านในช่วงเวลา 1 ปี และข้าพเจ้าพร้อมที่จะตกลงแต่งงานกับท่าน ถ้ามิตรภาพของเรานี้เป็นสิ่งที่ยืนยง”
ลักษณะความสัมพันธ์ระหว่างหนุ่มสาวที่จะช่วยให้ก้าวหน้าในความรักที่แท้จริงนั้น ก็ควรจะประกอบด้วย 3 ข้อด้วยกัน ดังนี้
1. ให้รู้จักกันทั้งในด้านดี ในด้านเสีย และข้อผิดพลาดซึ่งต่างก็มีอยู่ และยอมรับซึ่งกันและกันในข้อเหล่านั้น
2. ให้เคารพและเห็นใจกัน โดยเสียสละต่อกันเพื่อให้คนรักของตนได้รับความดี และความสุขใจในทางที่บริสุทธิ์งดงาม
3. ให้มีการปรับปรุง และเปลี่ยนนิสัยของตนในส่วนที่บกพร่อง เพื่อจะอยู่กันด้วยความสุขในอนาคต
ลักษณะ ทั้งสามดังกล่าวนี้ คงจะเป็นประโยชน์สำหรับหนุ่มสาวไทยไม่เฉพาะ ในวันวาเลนไทน์หรือสำหรับกลุ่มที่นิยมประเพณีต่างประเทศเท่านั้น แต่สำหรับทุกคู่ที่แสวงหาวิธีการเพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างกันอัน จะนำไปสู่ความรักที่มั่นคงและยั่งยืนชั่วชีวิต

.. ดอกไม้ " วันวาเลนไทน์ " ..


มนุษย์ ได้ใช้ดอกไม้เป็นสื่อในการแสดงความรักต่อกันมานานแล้ว เราอาจคิดว่าดอกไม้เป็นสิ่งที่สามารถใช้สื่อความหมายเฉพาะความรักของหนุ่ม สาวเท่านั้น แต่แท้จริงแล้ว ดอกไม้แต่ละชนิดสามารถสื่อความรักได้หลาย รูปแบบ ทั้งยังไม่จำกัดอายุและเพศอีกด้วย

กุหลาบตูม
กุหลาบตูม หมายถึง ความรักและความเยาว์วัย
กุหลาบบาน
กุหลาบบาน หมายถึง ความรักที่กำลังเบ่งบาน ความอ่อนหวาน สดชื่น
กุหลาบสีดำ
กุหลาบดำ หมายถึง ความรักนิรันดร์
redrose
กุหลาบ แดง (red rose) : จะใช้ในความหมายแทน ประโยคที่ว่า "ฉันรักเธอ" การให้ดอกกุหลาบแดงกับคนที่รักความ หมายถึงความรักอันลึกซึ้ง จริงจัง กุหลาบแดงจึงมักจะเป็นดอกไม้ ที่ชายหนุ่มให้หญิงสาวที่ตนเองตั้งใจจะใช้ชีวิตร่วมกัน
whiterose
 

         กุหลาบ ขาว (white rose) : สีขาวเป็นสีแห่งความบริสุทธ์ กุหลาบขาวจึงแทนความหมายแห่งความรักอันบริสุทธิ์ไม่ต้องการสิ่งตอบแทน ดังนั้นมันจึงสามารถใช้แทนความรักของคนต่างวัย ความรักต่อพ่อแม่ เพื่อน หรือคนที่เรารู้สึกดีด้วยอย่างบริสุทธิ์ใจได้
pinkrose
 

          กุหลาบ ชมพู (pink rose) : มักถูกใช้แทนความรักแบบโรแมนติก และความเสน่หาต่อกัน การให้ดอกกุหลาบสีชมพูสามารถแสดงถึงความรัก ที่กำลังเริ่มงอกงามในใจ และสามารถพัฒนาต่อไปเป็นความรักที่ลึกซึ้งได้
yellowrose
 


           กุหลาบ เหลือง (yellow rose) : สีเหลืองเป็นสีแห่งความสดใส กุหลาบสีเหลืองถูกใช้สำหรับแทนความรักแบบเพื่อน และความ สนุกสนานรื่นเริงจึงมักจะนำมันมาประดับตะกร้าสำหรับเยี่ยมผู้ป่วย เพื่อทำให้คนป่วยรู้สึกสดชื่นรื่นเริงขึ้นนั่นเอง
redtulib
 
         สำหรับ ดอกไม้อื่น ๆ ที่ถูกมาใช้แทนความหมายแห่งความรักก็มี ดอกทิวลิบสีแดง (red tulib) ชาวตะวันตกใช้มันแทนการประกาศความรัก อย่างเปิดเผย คล้าย ๆ กับดอกกุหลาบแดง


pink carnation
 
       ดอกคาร์เนชั่นสีชมพู (pink carnation) ใช้สื่อความหมายว่า "ถึงอย่างไรผมก็ยังรักคุณ" หรือ "คุณยังอยู่ในหัวใจฉันเสมอ"
white lilly
 

       ดอก ลิลลี่สีขาว (white lilly) แสดงความรักแบบบริสุทธ์ เช่นเดียวกันกับดอกกุหลาบขาว นอกจากนั้นลิลลี่สีขาวยังแสดงถึงความรักแบบอ่อนหวานจริงใจ และเทอดทูน และมักถูกใช้แทนประโยคที่ว่า "ฉันรู้สึกดี ๆ ที่ได้ได้รู้จัก และอยู่ใกล้คุณ "
forget me not
สำหรับดอก forget-me-not มีความหมายตรงตัวคือได้โปรดอย่าลืมฉัน และอย่าลืมความรู้สึกดี ๆ ที่เคยมีให้กัน
sunflower
มา ถึงดอกไม้ที่เห็นได้ทั่วไปในบ้านเราบ้างดอกทานตะวัน (sunflower) มีความหมายถึงความรักแบบคลั่งไคล้ ความรักแบบบูชา แต่สำหรับชาวตะวันตก ดอกทานตะวันจะหมายถึงความเข้มแข็งอดทน จึงสามารถใช้แทนความรักที่ต้องฝ่าฟันกว่าจะได้ความรักมา 



วันพฤหัสบดีที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2554

Galvanic cell

       A Galvanic cell, or Voltaic cell, named after Luigi Galvani, or Alessandro Volta respectively, is an electrochemical cell that derives electrical energy from chemical reactions taking place within the cell. It generally consists of two different metals connected by a salt bridge, or individual half-cells separated by a porous membrane.
       Volta was the inventor of the voltaic pile, the first electrical battery. In common usage, the word "battery" has come to include a single Galvanic cell, but a battery properly consists of multiple cells.

History

     In 1780, Luigi Galvani discovered that when two different metals (copper and zinc for example) were connected together and then both touched to different parts of a nerve of a frog leg at the same time, they made the leg contract.[3] He called this "animal electricity". The volatic pile invented by Alessandro Volta in the 1800s is similar to the galvanic cell. These discoveries paved the way for electrical batteries.

Description 

File:Galvanische Zelle grau 2009-02-08.svg 
Schematic of Zn-Cu galvanic cell

       A Galvanic cell consists of two half-cells. In its simplest form, each half-cell consists of a metal and a solution of a salt of the metal. The salt solution contains a cation of the metal and an anion to balance the charge on the cation. In essence the half-cell contains the metal in two oxidation states and the chemical reaction in the half-cell is an oxidation-reduction (redox) reaction, written symbolically in reduction direction as
Mn+ (oxidized species) + n e is in equilibrium with M (reduced species)
       In a galvanic cell one metal is able to reduce the cation of the other and, conversely, the other cation can oxidize the first metal. The two half-cells must be physically separated so that the solutions do not mix together. A salt bridge or porous plate is used to separate the two solutions yet keep the respective charges of the solutions from separating, which would stop the chemical reactions.
       The number of electrons transferred in both directions must be the same, so the two half-cells are combined to give the whole-cell electrochemical reaction. For two metals A and B:
An+ + n e is in equilibrium with A
Bm+ + m e is in equilibrium with B
m A + n Bm+ is in equilibrium with n B + m An+
        This is not the whole story as anions must also be transferred from one half-cell to the other. When a metal in one half-cell is oxidized, anions must be transferred into that half-cell to balance the electrical charge of the cation produced. The anions are released from the other half-cell where a cation is reduced to the metallic state. Thus, the salt bridge or porous membrane serves both to keep the solutions apart and to allow the flow of anions in the direction opposite to the flow of electrons in the wire connecting the electrodes.
       The voltage of the Galvanic cell is the sum of the voltages of the two half-cells. It is measured by connecting a voltmeter to the two electrodes. The voltmeter has very high resistance, so the current flow is effectively negligible. When a device such as an electric motor is attached to the electrodes, a current flows and redox reactions occur in both half-cells. This will continue until the concentration of the cations that are being reduced goes to zero.
       For the Daniell cell, depicted in the figure, the two metals are zinc and copper and the two salts are sulfates of the respective metal. Zinc is the oxidized metal so when a device is connected to the electrodes, the electrochemical reaction is
Zn + Cu2+Zn2+ + Cu
       The zinc electrode is dissolved and copper is deposited on the copper electrode (as copper ions become reduced to copper metal). By definition, the cathode is the electrode where reduction (gain of electrons) takes place, so the copper electrode is the cathode. The cathode attracts cations, so has a negative charge when current is discharging. In this case, copper is the cathode and zinc the anode.
        Galvanic cells are typically used as a source of electrical power. By their nature they produce direct current. For example, a lead-acid battery contains a number of galvanic cells. The two electrodes are effectively lead and lead oxide.
        The Weston cell was adopted as an International Standard for voltage in 1911. The anode is a cadmium mercury amalgam, the cathode is made of pure mercury, the electrolyte is a (saturated) solution of cadmium sulfate and the depolarizer is a paste of mercurous sulfate. When the electrolyte solution is saturated the voltage of the cell is very reproducible, hence its use as a standard.

Cell voltage

      The standard electrical potential of a cell can be determined by use of a standard potential table for the two half cells involved. The first step is to identify the two metals reacting in the cell. Then one looks up the standard electrode potential, E0, in volts, for each of the two half reactions. The standard potential for the cell is equal to the more positive E0 value minus the more negative E0 value.
       For example, in the figure above the solutions are CuSO4 and ZnSO4. Each solution has a corresponding metal strip in it, and a salt bridge or porous disk connecting the two solutions and allowing SO42− ions to flow freely between the copper and zinc solutions. In order to calculate the standard potential one looks up copper and zinc's half reactions and finds:
Cu2+ + 2 e is in equilibrium with Cu: E0 = +0.34 V
Zn2+ + 2 e is in equilibrium with Zn: E0 = −0.76 V
Thus the overall reaction is:
Cu2+ + Zn is in equilibrium with Cu + Zn2+
       The standard potential for the reaction is then +0.34 V − (−0.76 V) = 1.10 V. The polarity of the cell is determined as follows. Zinc metal is more strongly reducing than copper metal as shown by the fact that the standard (reduction) potential for zinc is more negative than that of copper. Thus, zinc metal will lose electrons to copper ions and develop a positive electrical charge. The equilibrium constant, K, for the cell is given by
\ln K= \frac{nFE^0}{RT}
where F is the Faraday constant, R is the gas constant and T is the temperature in kelvins. For the Daniell cell K is approximately equal to 1.5×1037. Thus, at equilibrium, a few electrons are transferred, enough to cause the electrodes to be charged.[4]
Actual half-cell potentials must be calculated by using the Nernst equation as the solutes are unlikely to be in their standard states,
E_{\text{half-cell}} = E^0 - \frac{RT}{nF}\ln_e Q
where Q is the reaction quotient. This simplifies to
E_{\text{half-cell}} = E^0 + 2.303 \frac{RT}{nF} \log_{10} \{ M^{n+}\}
where {Mn+} is the activity of the metal ion in solution. The metal electrode is in its standard state so by definition has unit activity. In practice concentration is used in place of activity. The potential of the whole cell is obtained by combining the potentials for the two half-cells, so it depends on the concentrations of both dissolved metal ions.
The value of 2.303R/F is 0.19845×10-3 V/K, so at 25 °C (298.15 K) the half-cell potential will change by 0.05918V / n if the concentration of a metal ion is increased or decreased by a factor of 10.
E_{\text{half-cell}}= E^0 + \frac{0.05918 V}{n} \log_{10} [ M^{n+}]
These calculations are based on the assumption that all chemical reactions are in equilibrium. When a current flows in the circuit, equilibrium conditions are not achieved and the cell potential will usually be reduced by various mechanisms, such as the development of overpotentials.[5] Also, since chemical reactions occur when the cell is producing power, the electrolyte concentrations change and the cell voltage is reduced. A consequence of the temperature dependency of standard potentials is that the voltage produced by a galvanic cell is also temperature dependent.

Cell types

See also

 ..............................................